HALL OF OPIUM GOLDEN TRIANGLE
THACHANOK PONGPRAYOON
DEPARTMENT OF INTERIOR ARCHITECTURE, FACULTY OF ARCHITECTURE CHULALONGKORN UNIVERSITY
Most museums nowadays seem to be infatuated with presentation technology. This has caused projects to lose their identity and true sense of the story. Besides, relying too much on technology can also require a large budget in terms of improvement, as one has to stay caught up with the trends that are changing all the time. The renovation project of the Hall of Opium has become an interesting case study for this thesis. In order to study the occurred problem and present the new way to approach story telling in the museum, the concept behind the design process encourages the closed building to be more open and bring in the atmosphere in order to help share the stories in a manner that is itself connected to the context, architecture and interior architecture; likewise, the design also creates a place where tourists can come to promenade and simultaneously learn something as well. The narration tells the story and occurrence in sequence along the contour of the site. Because the story behind the Golden Triangle is both positive and negative, the design tries to divide the good and the bad stories through the use of lighting and transparency so that visitors can easily understand that brighter lighting represents good and the darker illumination typifies the bad stories.
E. p.thachanok@gmail.com
T. 086 363 1741
โครงการปรับปรุงหอฝิ่น อุทยานสามเหลี่ยมทองคำ
ธัชชนก พงศ์ประยูร
ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการพิพิธภัณฑ์ที่พบในปัจจุบันนั้น มักหลงใหลไปกับการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีเป็นส่วนใหญ่ ทำให้แต่ละโครงการขาดเอกลักษณ์ ขาดกลิ่นอายที่แท้จริงของแต่ละเรื่องราวอีกทั้งการพึ่งพาเทคโนโลยีนั้น ทำให้ต้องเสียงบประมาณจำนวณมากในการปรับปรุงเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ โครงการปรับปรุง หอฝิ่น จึงเป็นกรณีศึกษาที่น่าสนใจในการนำมาทำเป็นวิทยานิพนธ์ เพื่อศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้น และนำเสนอ แนวทางการเล่าเรื่องแบบใหม่ ให้เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ในตัวเอง แนวความคิดในการออกแบบจึงต้องการเปิดอาคารออก เพื่อเชื่อมบริบท สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมภายใน เข้าด้วยกัน เสมือนสถานที่ที่นักท่องเที่ยวจะมาเดินเล่นพักผ่อนและได้ความรู้ไปในตัว โดยการเล่าเรื่องไปตามลำดับเหตุการณ์ของพื้นที่ ขึ้นไปตามคอนทัวร์ เนื่องจากเหตุการณ์ในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคำนี้มีทั้งมุมที่ดีและไม่ดีปะปนกันไป การออกแบบจึงแยกเรื่องดีและไม่ดีด้วยแสงและความทึบโปร่ง เพื่อช่วยให้ง่ายต่อการรับรู้ของคนทั่วไปว่าสว่างคือเรื่องดี มืดคือเรื่องไม่ดี